แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ น้ำยาลอก แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ น้ำยาลอก แสดงบทความทั้งหมด

8/12/2558

น้ำยาลอกฟิล์มกรองแสง

น้ำยาลอกฟิล์มกรองแสง น้ำยาลอกกาว ตัวทำละลายกาว ช่วยให้สะดวกอย่างมากในการลอกฟิล์มกรองแสง ลอกสติ๊กเกอร์ ลอกกาวที่ติดอยู่บนกระจกอย่างง่ายดายไม่มีกลิ่นเหม็น และไม่กัดกร่อนวัสดุข้างเคียง เป็นน้ำยาลอกฟิล์มกรองแสงชนิดเข้มข้น ใช้ผสมกับน้ำ  มีขนาดบรรจุ 1ลิตร 4ลิตร 10ลิตร 20ลิตร  ใช้สำหรับลอกคราบกาว จากฟิล์มเก่าที่เกาะติดพื้นผิวกระจก

น้ำยาลอกฟิล์มกรองเเสง (ADHESIVE REMOVER)
ใช้สำหรับลอกคราบกาวเก่าที่ติดบนผิวกระจก สำหรับลอกฟิล์มกรองเเสงหรือสติ๊กเกอร์
วิธีใช้ 
1.หลังจากดึงฟิล์มหรือสติ๊กเกอร์เก่า ออกจากกระจก ให้ฉีดน้ำยาลอกกาวลง บนกระจกที่มีคราบกาว 
2.ทิ้งไว้ ประมาณ 2-3 นาที
3.คราบกาวที่โดนน้ำยาจะค่อยอ่อนตัวจนนิ่ม 
4.ใช้อุปกรณ์ตัวขูดกระจกขูดคราบกาวออก หรือถ้ากาวไม่ติดเเน่นมากใช้ผ้าเช็ดออกก็ได้ 

5.ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับน้ำยาโดยตรง ควรใช้ถุงมือเพื่อป้องกันการกัดของน้ำยา
รายละเอียดทางเคมี
สถานะ : ผลึก สี : ขาว กลิ่น : ไม่มีกลิ่น นน.โมเลกุล : 84.01 
จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.)... : 122 
ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) : 2.16 ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : - ความหนืด(mPa.sec) : 254 
ความดันไอ(มม.ปรอท) :95ที่ 0ซ. 
ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : 10 ที่ 20 0ซ. 
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : 8.2 ที่ 20 0ซ. 
แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm = 3.44 
มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 2.29 ppm ที่ 25 0ซ. 
ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : 
อุณหภูมิสลายตัว : > 50 องศาเซลเซียส , สารนี้ไม่สามารถละลายได้ในแอกอฮอล์
- ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร

-สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด , แอมโมเนีย , ฟอสเฟต , monobasic
- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนนอกไซด์
- อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

สนใจสั่งซื้อน้ำยาลอกฟิล์มกรองแสงได้ที่ IDLine:@vctech โทร 094-6969569
ลูกค้า สามารถไปศึกษาคลีบวิธีการใช้เพิ่มเติมที https://youtu.be/4sltEkzOgI8